ภาพจากหนังสือ AN ASIAN ARCADY

SKU: 02_23_20171026_PH02_82 Category:

Description

Digital Data

TITLE:
เชียงราย
AUTHOR:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์
KEYWORDS:
DESCRIPTION:
ภาพจากหนังสือ AN ASIAN ARCADY (The land and People of Northern Siam.) Reginald Le May หน้าที่ 256 เป็นภาพที่มีคำอธิบายว่า โรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊ค เชียงรายสร้างโดยชาวอเมริกันที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายพเรสบิเทีย-เรียน” ‘โรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊ค เชียงราย ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1903 โดย วิลเลี่ยม เอ บริกส์ ริมฝั่งน้ำแม่กกและให้บริการ รักษาผู้ป่วยจวบจนปัจจุบันนี้
PUBLISHER:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์
OTHER CONTRIBUTORS:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์
DATE:
26/10/2560
RESOURCE TYPE:
Image
FORMAT:
Image/jpeg
RESOURCE IDENTIFIER:
คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหอภาพถ่ายล้านนา ในกำกับของกรรมการอำนวยการหอภาพถ่ายล้านนา
SOURCE:
ภาพถ่ายประกอบหนังสือ
LANGUAGE:
ไทย/อังกฤษ
RELATION:
โรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊ค เชียงราย ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1903 โดย วิลเลี่ยม เอ บริกส์ ริมฝั่งน้ำแม่กกในปัจจุบันนี้ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งของโรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊ค ตั้งอยู่เลขที่ 17 ถนนสิงหไคล ต.เวียง อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย บนเนื้อที่ประมาณ 17 ไร่ อันที่จริงแล้ว
“โอเวอร์บรุ๊ค” เป็นชื่อของคริสตจักรแห่งหนึ่งในรัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา บางคนคิดว่า “โอเวอร์บรุ๊ค” แปลว่าริมฝั่งน้ำ ทำให้หลายท่านคิดว่า ชื่อนี้คงจะได้มาเนื่องจากโรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊คตั้งอยู่ริมฝั่งน้ำแม่กก ซึ่งได้มีสมาชิกคริสตจักรท่านหนึ่ง
ชื่อ MR.GUEST (เกสต์ ) ได้รวบรวมเงินบริจาคจากสมาชิก คริสตจักรโอเวอร์บรุ๊ค จำนวน 5,000 เหรียญ และศาสนาคริสต์นิกายพเรสบิเทีย-เรียนนิกายหนึ่งของศาสนาคริสต์ฝ่ายโปรเตสแตนต์ซึ่งใช้การปกครองโดยพระที่มีศักดิ์เท่ากันหมด ซึ่งขณะนั้น
มีชาวอเมริกันที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายพเรสบิเทีย-เรียนเข้ามาอาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงรายมากพอสมควร
RIGHT MANAGEMENT:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์

Physical Data

COLLECTION NAME:
AN ASIAN ARCADY
IMAGE CODE:
02_23_20171026_PH02_82
CATEGORY:
ภาพถ่าย
PROVENANCE:
ศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
COVERAGE:
หอภาพถ่ายล้านนา ถนนพระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
View map
ORIGINAL SIZE:
1200 × 785
DIGITAL SIZE:
7708 × 5041