ภาพถ่ายชุดช่างภาพเมืองเชียงใหม่ในอดีต (M Tanaka)

SKU: 02_26_20171023_PH01_14 Category:

Description

Digital Data

TITLE:
เชียงใหม่
AUTHOR:
หอภาพถ่ายล้านนา โดยมูลนิธิรองศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
KEYWORDS:
DESCRIPTION:
ภาพถ่ายหนูน้อย เจน พันธุพงศ์ ถ่ายเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ.2477 ขณะมีอายุ 9 เดือน 28 วัน ภาพถ่ายภาพนี้ถ่ายโดยนาย เอ็ม ทานากะ เป็นช่างถ่ายภาพชาวญี่ปุ่นคนแรกของเชียงใหม่ ร้านรับถ่ายภาพร้านนี้อยู่ถนนเลียบแม่น้ำปิงเชิงสะพานนวรัฐ เชียงใหม่ ประเทศไทย
PUBLISHER:
หอภาพถ่ายล้านนา โดยมูลนิธิรองศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
OTHER CONTRIBUTORS:
หอภาพถ่ายล้านนา โดยมูลนิธิรองศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
DATE:
23 คุลาคม พ.ศ.2560
RESOURCE TYPE:
ภาพถ่าย
FORMAT:
Image/jpeg
RESOURCE IDENTIFIER:
คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหอภาพถ่ายล้านนา ในกำกับของกรรมการอำนวยการหอภาพถ่ายล้านนา
SOURCE:
ภาพถ่ายโบราณ
LANGUAGE:
Thai/English
RELATION:
นาย เอ็ม ทานาคา ( Mr. MORINOSUKE TANAKA ) เป็นช่างถ่ายรูปชาวญี่ปุ่นคนแรกที่เปิดกิจการร้านถ่ายรูปในภาคเหนือและเป็นร้านถ่ายรูปร้านที่ 2 ของ เชียงใหม่ นายทานากา เกิดที่เมืองคาโกชิมา ซึ่งเป็นเมืองชายทะเลทางตอนใต้ของประเทศญี่ปุ่น บิดาประกอบอาชีพถ่ายรูป นายทานากาได้เดินทางเข้ามาในประเทศไทยประมาณปี พ.ศ.2443 ทำงานที่ร้านถ่ายรูป “เคอิโซนางา ไคชู” ซึ่งเป็นร้านถ่ายรูปญี่ป่นร้านแรก เปิดกิจการในปีพ.ศ. 2438 ตั้งอยู่ใกล้ไปรณีย์กลาง ถนนเจริญกรุง ทำงานได้ 3 ปีจึงได้เดินทางขึ้นมาเปิดร้านถ่ายรูปของตัวเอง ที่ลำปาง ต่อมา นาย ทานากาได้รับการชักชวน จากนายแพทย์ชาวอเมริกัน ชือ ดร.คอร์ต ให้มาเปิดร้านถ่ายรูปที่เชียงใหม่ ซึ่งเป็นเมืองใหญ่กว่า นายทานากาจึงย้ายมาเปิดร้านถ่ายรูปที่เชียงใหม่ พ.ศ. 2446 ตั้งอยู่บนถนเชียงใหม่ – ลำพูน เรียบแม่นำปิง กิจการร้านถ่ายรูปของนาย ทานากา ได้เจริญรุ่งเรืองเป็นที่นิยมของข้าราชการ เจ้านาย พ่อค้า อย่างรวดเร็ว
COVERAGE:
หอภาพถ่ายล้านนา ถนนพระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
RIGHT MANAGEMENT:
หอภาพถ่ายล้านนา โดยมูลนิธิรองศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์

Physical Data

COLLECTION NAME:
เอ็ม ทานากะ และร้านรับถ่ายภาพอื่นๆในเชียงใหม่
IMAGE CODE:
02_26_20171023_PH01_14
SUBJECT AGE:
28 ตุลาคม พ.ศ.2477
CATEGORY:
ภาพถ่าย
PROVENANCE:
ศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
COVERAGE:
หอภาพถ่ายล้านนา ถนนพระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
View map
ORIGINAL SIZE:
3.5’’x5.5’’
DIGITAL SIZE:
4000×6000