ภาพถ่ายชุดนายห้างป่าไม้ในลำปาง (Frank R Frere)

SKU: DC_PT_02_25_20191008_PH02.1_221 Category:

Description

Digital Data

TITLE:
ลำปาง
AUTHOR:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์
KEYWORDS:
DESCRIPTION:
พระอัฏฐารสยืน กลางพุทธศตวรรษที่ 23 (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17) ก่ออิฐถือปูน วัดมหาธาตุ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
PUBLISHER:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์
OTHER CONTRIBUTORS:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์
DATE:
08/03/2556
RESOURCE TYPE:
ภาพถ่าย
FORMAT:
Image/jpeg
RESOURCE IDENTIFIER:
คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหอภาพถ่ายล้านนา ในกำกับของกรรมการอำนวยการหอภาพถ่ายล้านนา
SOURCE:
ภาพถ่ายโบราณ
LANGUAGE:
ไทย/อังกฤษ
RELATION:
พระอัฎฐารสเป็นพระที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญก้าวหน้าและความรุ่งเรืองทางด้านพุทธศิลป์ของสุโขทัยพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วงมักเสด็จไปนมัสการเมื่อวันเพ็ญเดือนออกหรือวันพระสำคัญต่างๆ เข้าใจว่าจะมีการสร้างมาตั้งแต่ก่อนสมัยพระมหาธรรมราลิไท แต่มารุ่งเรืองมากในสมัยของพระองค์ถึงขนาดเมื่อทรงสร้าง‘พระพุทธชินราช’ ที่เมืองพระพิษณุโลกแล้ว ยังโปรดให้สร้างวิหารเก้าห้องทางด้านหลังประดิษฐาน‘พระอัฎฐารส’ ก่ออิฐถือปูนด้วย(สำหรับพระอัฏฐารส ที่เห็นในปัจจุบัน บางส่วนขององค์พระโดยเฉพาะพระเศียร พระพักตร์ เป็นส่วนที่ได้รับการบูรณะซ่อมแซมขึ้นใหม่ ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เพราะก่อนหน้านี้ องค์พระได้ถูกทำลายจนเสียหาย การซ่อมแซมในครั้งนั้น ทำให้ความงดงามของพระพุทธรูปเดิม ซึ่งเป็นศิลปะสุโขทัย สูญเสียไปโดยสิ้นเชิง)  มีเค้าเงื่อนว่าองค์พระอัฎฐารสนี้น่าจะมีวิวัฒนาการจากรอยพระพุทธบาทที่พบเห็นอยู่หลายองค์ในราชอาณาจักรแล้วแต่ละพระบาทมีขนาดใหญ่โตจึงทำเกิดจินตนาการตามขนาดของรอยบาทซึ่งสุโขทัยช่วงนั้นพระพุทธศาสนาเจริญอย่างสูงสุดจึงจินตนาการสร้างพระยืนขนาดใหญ่แต่เนื่องจากว่าพระประเภทนี้ปรากฎในแถบอัฟกานิสถานอินเดียหรือเส้นทางสายไหมมักจะสร้างหรือแกะอิงภูเขาแต่สุโขทัยไม่มีภูเขาให้แกะ จึงต้องสร้างเครื่องรองรับด้านหลังไม่ให้องค์พระล้มครืนลงมาจึงปรากฏในรูปอาคารที่เราเรียกว่า “คันฐกุฎี” กล่าวคือลักษณะคล้ายๆมณฑปแต่มีขนาดแคบมากล้อมรูปปั้นพระพุทธองค์เอาไว้อันคันฐกุฎีนี้จะทำประตูเล็กๆไว้ด้านหน้าแต่เดิมมีเครื่องยอดปัจจุบันปรักหักพังไปหมดแล้ว‘คันฐกุฎี’ถือเป็นที่สงบของพระพุทธองค์โดยมิประสงค์จะให้ผู้ใดมารบกวนและไม่จำเป็นต้องใช้พื้นที่มากซึ่งความจริงแล้วผูกกันกับโครงสร้างที่ต้องค้ำยันองค์พระพุทธรูปที่มีขนาดสูงใหญ่ไว้ด้วยและไม่แม้แต่พระยืนหากพระนั่งมีขนาดใหญ่ก็จะทำคันฐกุฎีในลักษณะเดียวกันเช่นพระอจนะที่วัดศรีชุมเป็นต้น
COVERAGE:
คุณสุวภรณ์ ชูโต เเละคุณลาวัลย์ อินต๊ะรัตน์ 
RIGHT MANAGEMENT:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์

Physical Data

COLLECTION NAME:
ลำปาง
IMAGE CODE:
DC_PT_02_25_20191008_PH02.1_221
SUBJECT AGE:
ประมาณปีพ.ศ 2470 – 2480
CATEGORY:
ภาพถ่าย
PROVENANCE:
ศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
COVERAGE:
คุณสุวภรณ์ ชูโต เเละคุณลาวัลย์ อินต๊ะรัตน์ ต.เวียงเหนือ อ.เมืองลำปาง จ.ลำปาง ภาคเหนือประเทศไทย
View map
ORIGINAL SIZE:
4” x 6”
DIGITAL SIZE:
2621*1765 Pixels