ภาพจากหนังสือ AN ASIAN ARCADY

SKU: 02_25_20171026_PH03_61 Category:

Description

Digital Data

TITLE:
ลำปาง
AUTHOR:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์
KEYWORDS:
DESCRIPTION:
ภาพจากหนังสือ AN ASIAN ARCADY (The land and People of Northern Siam.) Reginald Le May หน้าที่ 152 เป็นภาพที่มีคำอธิบายว่า “ชาวนากำลังขนต้นกล้าของข้าวจากแปลงเพาะเพื่อนำมาปลูกลงในแปลงนาที่อุดมไปด้วยน้ำ” ตั้งแต่ในอดีตกาลการทำนาส่วนใหญ่ของชนชาติไทจะใช้วิธีการดำนาคือการเพาะต้นกล้าข้าวในแปลงเพาะ เมื่องอกได้ตามความต้องการจึงนำมาปลูกด้วยวิธีการดำนาทีละต้น ทำให้แปลงข้าวดูเป็น แถวเป็แนวอย่างมีระเบียบ
PUBLISHER:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์
OTHER CONTRIBUTORS:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์
DATE:
26/10/2560
RESOURCE TYPE:
Image
FORMAT:
Image/jpeg
RESOURCE IDENTIFIER:
คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหอภาพถ่ายล้านนา ในกำกับของกรรมการอำนวยการหอภาพถ่ายล้านนา
SOURCE:
ภาพถ่ายประกอบหนังสือ
LANGUAGE:
ไทย/อังกฤษ
RELATION:
รูปแบบของการปลูกข้าวของชนชาติไทมีด้วยกัน ดังต่อไปนี้ 1.การทำนาดำเป็นวิธีการทำ นาที่มีการนำเมล็ดข้าวไปเพาะในแปลงที่เตรียมไว้ (แปลง กล้า) ให้งอกเป็นต้นกล้า แล้วถอนต้นกล้าไปปักดำในกระทงนาที่เตรียมไว้ และมีการ ดูแลรักษาจนให้ผลผลิต การทำนาดำนิยมในพื้นที่ที่มี แรงงานเพียงพอ 2.การทำนาหว่าน เป็นการปลูกข้าวโดยการหว่านเมล็ดลงไปในนาที่เตรียมพื้นที่ไว้แล้วโดยตรงเป็นวิธีการที่นิยมมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่อง จากประหยัดแรงงานและเวลา 3.การทำนาหยอดเป็นวิธีการปลูกข้าวที่อาศัยน้ำฝน โดยหยอดเมล็ดข้าวแห้ง ลงไปในดินเป็นหลุมๆหรือโรยเป็นแถวแล้วกลบเมล็ดข้าว เมื่อฝนตกลงมาดินมีความชื้นพอเหมาะเมล็ดก็จะงอกเป็นต้น การทำนาหยอดนิยมทำในพื้นที่สภาพไร่หรือนาในเขตที่การกระจายของฝนไม่แน่นอน 4. การทำนาขั้นบันได การทำนาขั้นบันไดเป็นการทำนาบนพื้นที่สูงโดยการขุดปรับพื้นที่สภาพไร่ซึ่งเคยใช้ปลูกข้าวไร่หรือพืชไร่อื่นๆปรับเปลี่ยนเป็นพื้นที่นาซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการลดปัญหาการทำไร่เลื่อนลอย ช่วยเพิ่มผลผลิตข้าว และสร้างความมั่นคงทางอาหารบนพื้นที่สูง 5.การทำนาที่สูงข้าวที่สูงจะไม่มีความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ แต่เกษตรกร กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆที่อาศัยอยู่บนที่สูง ยังคงมีความจำเป็น ในการปลูกข้าวไว้บริโภคทั้งข้าวไร่และข้าวนา เพราะข้าว เป็นพืชอาหารหลักที่สำคัญของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ
RIGHT MANAGEMENT:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิ รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์

Physical Data

COLLECTION NAME:
AN ASIAN ARCADY
IMAGE CODE:
02_25_20171026_PH03_61
CATEGORY:
ภาพถ่าย
PROVENANCE:
ศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
COVERAGE:
หอภาพถ่ายล้านนา ถนนพระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
View map
ORIGINAL SIZE:
1200 × 785
DIGITAL SIZE:
7708 × 5041