Description
Digital Data
TITLE:
เชียงใหม่
AUTHOR:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิรองศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
KEYWORDS:
กัณฑ์ที่ 4 วนประเวศน์, กัณหา, การนุ่งผ้าซิ่น, การเเต่งกายของชายชาวไทยวย, การเเต่งกายของหญิงสาวชาวไทยวน, จิตรกรรมวัดป่าแดด, ชาดก, ชาลี, ชาวเมืองสิพี, ซิ่นต๋า, ตำบลท่าผา, นครเจตราช, นุ่งผ้าต้อย, ประวัติศาสตร์ล้านนา, ประวัติศาสตร์เชียงใหม่, ประเทศไทย, พระกัณหา, พระชาลี, พระนางมัทรี, พระเวสสันดร, พระเวสสันดรชาดก, พราหมณ์, ภาคเหนือ, ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง, มูลนิธิรองศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์, ล้านนา, สถาปัตยกรรมศิลปะเเบบพม่า, สักขาลาย, สักยันต์, สักเตี่ยวก้อม, สีพีนคร, หอภาพถ่ายล้านนา, อำเภอแม่แจ่ม, เค็ดม้าม, เครื่องเขิน, เชียงใหม่, เมืองกลิงคราฐ, เมืองสีพี, เวสสันดรชาดก
DESCRIPTION:
ภาพจิตรกรรมมุมซ้ายล่าง เป็นหน้าปราสาทของกษัตริย์ผู้ครองนครเจตราช นางข้าหลวงนางกำนัล ยกขันหรือโตกหรือพานเครื่องเขินขนาดใหญ่ให้แก่กลุ่มชาย การแต่งกายของข้าหลวงนางกำนัลเป็นการแต่งกายในรูปแบบของหญิงไทยวนในล้านนาคือเปลือยอกและมีผ้ามาห่มแบบสไบเรียกว่าการห่มแบบ”สวายเฉียง” นุ่งผ้า”ซิ่นต๋า”เป็นผ้าซิ่นที่มีลวดลายเส้นในแนวขวางลำตัวมีการทำผมมุ่นมวยต่ำด้านหลัง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของหญิงชาวไทยวนในแถบนี้ ส่วนชายจะห่มผ้าที่มีลวดลายของพม่าเผยให้เห็นลายสักยันต์ที่สักตั้งแต่ท้องน้อยจนถึงเหนือเข่า
PUBLISHER:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิรองศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
OTHER CONTRIBUTORS:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิรองศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
DATE:
08/06/2562
RESOURCE TYPE:
จิตรกรรมฝาผนัง
FORMAT:
Image/jpeg
RESOURCE IDENTIFIER:
คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหอภาพถ่ายล้านนา ในกำกับของกรรมการอำนวยการหอภาพถ่ายล้านนา
SOURCE:
จิตรกรรมฝาผนัง
LANGUAGE:
ไทย/อังกฤษ
RELATION:
–
COVERAGE:
–
RIGHT MANAGEMENT:
หอภาพถ่ายล้านนา โดย มูลนิธิรองศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
Physical Data
COLLECTION NAME:
เชียงใหม่
IMAGE CODE:
002_26_20190608_MR26-06_55
SUBJECT AGE:
ประมาณปี พ.ศ.2431
CATEGORY:
จิตรกรรมฝาผนัง
PROVENANCE:
ศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์
COVERAGE:
ORIGINAL SIZE:
107 x 32.90 cm.
DIGITAL SIZE:
3080 x 2300 Pixels.